งานควบคุมภายใน ตรวจสอบภายในและบริหารจัดการความเสี่ยง


จำนวนผู้อ่าน : 4

LPA 03 : การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน

รายการ เอกสารประกอบ
1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายในระดับองค์กร ดาวน์โหลดเอกสาร
2. คณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายใน ได้กำหนดแนวทางการประเมินผลการควบคุมภายใน ในภาพรวมขององค์กร ดาวน์โหลดเอกสาร
3. แจ้งแนวทางการประเมินผลการควบคุมภายใน ให้สำนัก/กอง ทราบ ดาวน์โหลดเอกสาร
4. จัดทำหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค.1) ดาวน์โหลดเอกสาร
5. จัดทำรายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค.4) ดาวน์โหลดเอกสาร
6. จัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค.5) ดาวน์โหลดเอกสาร
7. จัดทำรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปค.6) ดาวน์โหลดเอกสาร
8. จัดส่งรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในให้นายอำเภอภายใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ ดาวน์โหลดเอกสาร

 

LPA 04 : การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน (หรือผู้รักษาราชการแทน)

รายการ เอกสารประกอบ
1. จัดทำกฎบัตร โดยระบุเนื้อหาครบถ้วนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เสนอผู้บริหารพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเผยแพร่หน่วยตรวจรับ รวมทั้งมีการสอบทานความเหมาะสมของกฎบัตรอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ดาวน์โหลดเอกสาร
2. กำหนดนโยบายและวิธีการปฏิบัติงานตรวจสอบ ดาวน์โหลดเอกสาร
3. จัดทำและเสนอแผนการตรวจสอบประจำปี ต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อพิจารณาอนุมัติภายในเดือนกันยายน ดาวน์โหลดเอกสาร
4. ปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําปีที่ได้รับอนุมัติครบถ้วน ดาวน์โหลดเอกสาร

5. จัดทําและเสนอรายงานผลการตรวจสอบครบถ้วนตามแผนการตรวจสอบประจําปีต่อผู้บริหารท้องถิ่นภายในเวลาอันสมควรและไม่เกินสองเดือน นับจากวันที่ดำเนินการตรวจสอบแล้วเสร็จตามแผน

*หมายเหตุ เนื่องจากการเสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อผู้บริหารท้องถิ่น เกินกำหนดระยะเวลา 2 เดือนนับจากดำเนินการตรวจสอบแล้วเสร็จ จึงขอยอมรับผลการประเมินจากคณะกรรมการผู้ประเมินให้คะแนนตัวชี้วัดที่ 4 ข้อที่ 5 โดยไม่ขออุทธรณ์หรือโต้แย้งแต่ประการใด

ดาวน์โหลดเอกสาร
6. ติดตามผลการตรวจสอบ เสนอแนะและให้คําปรึกษาแก่หน่วยรับตรวจเพื่อให้การปรับปรุงแก้ไขของหน่วยรับตรวจเป็นไปตามข้อเสนอแนะในรายงานการตรวจสอบ ดาวน์โหลดเอกสาร

 

LPA 05 : การบริหารจัดการความเสี่ยงระดับองค์กร

รายการ เอกสารประกอบ
1. มอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดาวน์โหลดเอกสาร
2. กําหนดนโยบายการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดาวน์โหลดเอกสาร
3. จัดทําแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และต้องมีการสื่อสารแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

ดาวน์โหลดเอกสาร (1)

ดาวน์โหลดเอกสาร (2)

4. ติดตามประเมินผลการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดยติดตามระหว่างปฏิบัติงานหรือติดตามประเมินผลเป็นรายครั้ง หรือใช้ทั้งสองวิธีร่วมกัน ดาวน์โหลดเอกสาร
5. จัดทํารายงานผลตามแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง และเสนอผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ดาวน์โหลดเอกสาร
6. พิจารณาทบทวนแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องหรือเป็นระยะอย่างสม่ำเสมอและเสนอผู้บริหารท้องถิ่น ดาวน์โหลดเอกสาร